วันพฤหัสบดีที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552
ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิวรรธน์ จันทร์เทพย์
โปรแกรมวิชา เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
........
........
ประวัติผู้สอน
...... ผศ.วิวรรธน์ จันทร์เทพย์
.......ทำงาน ณ โปรแกรมวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง อ.จอมบึง จ.ราชบุรี
.......ปัจจุบันตำรงดำแหน่ง ประธานโปรแกรมวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง อ.จอมบึง จ.ราชบุรี
......
.......
วุฒิการศึกษา
......ป.กศ.สูง วิชาเอกดนตรีศึกษา จาก วค.บ้านสมเด็จพระยา
......ปริญญาตรี กศ.บ.(เกียรตินิยม)มศว.ประสานมิตร
......ปริญญาโท ค.ม.(โสตทัศนศึกษา)จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
......นักศึกษาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน (กลุ่มเทคโนโลยีทางการศึกษา) มหาวิทยาลัยศิลปากร จ.นครปฐม
......
.......
......บล็อกนี้จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นสื่อกลางในการเรียนการสอนนักศึกษา ปีการศึกษา 2550/1 ขอให้นักศึกษาทุกคนตั้งใจเรียน ขยันหมั่นเพียร รักเขียนอ่านเพื่ออนาคตที่สดใส ส่วนท่านที่เป็นบุคคลภายนอกที่ได้เข้ามาชมบล็อกซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของบรรยากาศการเรียนการสอนโดยใช้บล็อกเข้ามาช่วย ถ้าท่านมีข้อสังเกตประการใดโปรดชี้แนะหรือสะท้อนความคิดเห็น ให้ทั้งผู้สอนและผู้เรียนทราบได้ทันที เพื่อจะได้แก้ไขปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
มิติด้านผู้เรียน
มิติด้านผู้เรียน
- แม้ว่าผู้เรียนมีความแตกต่างกันในทุก ๆ ด้าน ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม แ ละสติปัญญา
- แต่การเรียนรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งผู้เรียนแต่ละคน จำเป็นต้องเรียนรู้ให้ครบทั้ง 3 ด้าน ดังนี้
มิติเกี่ยวกับการเรียนรู้
1. การเรียนรู้ด้านสมอง
....1.1 ความชอบ
....1.2 ความซาบซึ้ง
....1.3 การเห็นคุณค่า
....1.4 การรู้จักลำดับคุณค่า
....1.5การประพฤติตามอุดมคติ
2. การเรียนรู้ด้านจิตใจ
....2.1 ความรู้ความเข้าใจ
....2.2 การนำไปใช้
....2.3 การวิเคราะห์
....2.4 การสังเคราะห์
....2.5 การตัดสินประเมินผล
3. การเรียนรู้ด้านความชำนาญ
....3.1 การเลียนแบบได้
....3.2 การทำได้ด้วยตนเอง
....3.3 การทำได้อย่างแม่นยำ
....3.4 การทำได้อย่างละมุนละม่อม
....3.5 การทำได้อย่างอัตโนมัติ
- แม้ว่าผู้เรียนมีความแตกต่างกันในทุก ๆ ด้าน ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม แ ละสติปัญญา
- แต่การเรียนรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งผู้เรียนแต่ละคน จำเป็นต้องเรียนรู้ให้ครบทั้ง 3 ด้าน ดังนี้
มิติเกี่ยวกับการเรียนรู้
1. การเรียนรู้ด้านสมอง
....1.1 ความชอบ
....1.2 ความซาบซึ้ง
....1.3 การเห็นคุณค่า
....1.4 การรู้จักลำดับคุณค่า
....1.5การประพฤติตามอุดมคติ
2. การเรียนรู้ด้านจิตใจ
....2.1 ความรู้ความเข้าใจ
....2.2 การนำไปใช้
....2.3 การวิเคราะห์
....2.4 การสังเคราะห์
....2.5 การตัดสินประเมินผล
3. การเรียนรู้ด้านความชำนาญ
....3.1 การเลียนแบบได้
....3.2 การทำได้ด้วยตนเอง
....3.3 การทำได้อย่างแม่นยำ
....3.4 การทำได้อย่างละมุนละม่อม
....3.5 การทำได้อย่างอัตโนมัติ
มิติด้านเนื้อหา
มิติด้านเนื้อหา
เนื้อหา 8 สาระ ดังนี้
1. กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
2. กลุ่มสาระภาษาไทย
3. กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
4. กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ
5. กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา
6. กลุ่มสาระการงานและเทคโนโลยี
7. กลุ่มสาระศิลปะ
8. กลุ่มสาระสังคมและวัฒนธรรม
*เนื้อหาที่มีลักษณะเป็นนามธรรมและรูปธรรม
เนื้อหา 8 สาระ ดังนี้
1. กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
2. กลุ่มสาระภาษาไทย
3. กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
4. กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ
5. กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา
6. กลุ่มสาระการงานและเทคโนโลยี
7. กลุ่มสาระศิลปะ
8. กลุ่มสาระสังคมและวัฒนธรรม
*เนื้อหาที่มีลักษณะเป็นนามธรรมและรูปธรรม
วิชาเทคโนโลยีการศึกษา
คำอธิบายรายวิชา
.........ศึกษาความหมาย ขอบข่ายและความสำคัญของเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาต่อการเรียนการสอน วิธีระบบ กระบวนการสื่อความหมาย การจำแนกประเภทของสื่อการเรียนการสอน การเลือก การแนะนำให้รู้จักเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาที่เหมาะสมกับการเรียนการสอน การจัดหา การใช้ การผลิต การประเมินผลและการเก็บรักษาสื่อการเรียนการสอน
.........ฝึกปฏิบัติผลิตสื่อหลักที่เหมาะสมกับสภาพชั้นเรียน
วัตถุประสงค์
.........เมื่อผู้เรียนศึกษาเนื้อหาและกิจกรรมในวิชานี้แล้วจะมีพฤติกรรมและความสามารถดังนี้
1. อธิบายถึงความหมาย หลักการ และแนวทางของการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษามาใช้กับการเรียนการสอนได้ถูกต้องและเหมาะสม
2. ประยุกต์วิธีระบบไปใช้กับการเรียนการสอน และชีวิตประจำวันได้
3. อธิบายความหมาย คุณค่า ประเภทของสื่อการเรียนการสอน วิธีการเลือกและการนำสื่อมาใช้กับการเรียนการสอนได้อย่างถูกต้อง
4. อธิบายถึงความหมาย ความสำคัญ หลักในการออกแบบกราฟิก และสามารถผลิตวัสดุกราฟิกเพื่อใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนได้
5. อธิบายวิธีการ ขั้นตอน และสามารถแสดงเกี่ยวกับสื่อการสอนประเภทกิจกรรมได้
6. ใช้จัดเก็บ และการบำรุงรักษาโสตทัศนูปกรณ์พื้นฐานได้อย่างถูกวิธี
7. อธิบายถึงแนวทางการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแนวโน้มของเทคโนโลยีการศึกษาในอนาคตได้
แผนการสอน
สัปดาห์ที่ 1
1. สภาพการศึกษา ปัญหาและแนวทางการแก้ไข
2. แนวทางการจัดการศึกษาตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
3. บทบาทของเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา
4. ความหมายของเทคโนโลยีและนวัตกรรม
สัปดาห์ที่ 2
1. วิธีระบบ
2. การประยุกตืใช้วิธีระบบกับการดำเนินงานทางการศึกษา
สัปดาห์ที่ 3
1. การสื่อสารทางการศึกษา
2. การประยุกต์ใช้การสื่อสารกับการเรียนการสอน
สัปดาห์ที่ 4
1. จิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน
....1.1 จิตวิทยาการรับรู้
....1.2 จิตวิทยาการเรียนรู้
....1.3 จิตวิทยาพัฒนาการ
สัปดาห์ที่ 5
1. สื่อการเรียนการสอน
....1.1 สื่อวัสดุ
....1.2 สื่ออุปกรณ์
....1.3 สื่อกิจกรรม
สัปดาห์ที่ 6
1. การออกแบบการเรียนการสอน
สัปดาห์ที่ 7
1. คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา
....1.1 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
สัปดาห์ที่ 8
1. อินเตอร์เน็ตเพื่อการศึกษา
....1.1 การใช้เว็บบล็อกเพื่อการเรียนการสอน
สัปดาห์ที่ 9
....การใช้เว็บบล็อกเพื่อการเรียนการสอน
สัปดาห์ที่ 10
....e-Learning
สัปดาห์ที่ 11
....การเรียนรู้แบบผสมผสาน (blended learning)
สัปดาห์ที่ 12
....การศึกษาทางไกล
สัปดาห์ที่ 13
....การวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
สัปดาห์ที่ 14
....เทคโนโลยีการศึกษาในอนาคต
สัปดาห์ที่ 15
....อภิปรายสรุปบทเรียน
การวัดและประเมินผล
1. คะแนนระหว่างภาคเรียน
....1.1 รายงานเรื่องวิธีระบบ 5 คะแนน
....1.2 รายงานเรื่องการประยุกต์ใช้การสื่อสารฯ 10 คะแนน
....1.3 รายงานและการนำเสนอด้วย PowerPoint 10 คะแนน
....1.4 ผลงานการผลิตสื่อสีไม้ 15 คะแนน
....1.5 รายงานเรื่องการออกแบบการเรียนการสอน 5 คะแนน*
....1.6 ผลงานการสร้างเว็บบล็อก 20 คะแนน
....1.7 รายงานเรื่อง e-Learning 5 คะแนน**
....1.8 รายงานเรื่องการเรียนรู้แบบผสมผสาน 5 คะแนน**
....1.9 รายงานการวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา 5 คะแนน***
....1.10 รายงานการศึกษาทางไกล 5 คะแนน***
2. คะแนนปลายภาคเรียน
....สอบปลายภาคเรียน 20 คะแนน
เกณฑ์การประเมินผล
.....ระดับคะแนน 80-100 = A
.....ระดับคะแนน 75-76 = B+
.....ระดับคะแนน 70-74 = B
.....ระดับคะแนน 65-69 = C+
.....ระดับคะแนน 60-64 = C
.....ระดับคะแนน 55-59 = D+
.....ระดับคะแนน 50-54 = D
.....ระดับคะแนน 0-49 = E
.........ศึกษาความหมาย ขอบข่ายและความสำคัญของเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาต่อการเรียนการสอน วิธีระบบ กระบวนการสื่อความหมาย การจำแนกประเภทของสื่อการเรียนการสอน การเลือก การแนะนำให้รู้จักเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาที่เหมาะสมกับการเรียนการสอน การจัดหา การใช้ การผลิต การประเมินผลและการเก็บรักษาสื่อการเรียนการสอน
.........ฝึกปฏิบัติผลิตสื่อหลักที่เหมาะสมกับสภาพชั้นเรียน
วัตถุประสงค์
.........เมื่อผู้เรียนศึกษาเนื้อหาและกิจกรรมในวิชานี้แล้วจะมีพฤติกรรมและความสามารถดังนี้
1. อธิบายถึงความหมาย หลักการ และแนวทางของการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษามาใช้กับการเรียนการสอนได้ถูกต้องและเหมาะสม
2. ประยุกต์วิธีระบบไปใช้กับการเรียนการสอน และชีวิตประจำวันได้
3. อธิบายความหมาย คุณค่า ประเภทของสื่อการเรียนการสอน วิธีการเลือกและการนำสื่อมาใช้กับการเรียนการสอนได้อย่างถูกต้อง
4. อธิบายถึงความหมาย ความสำคัญ หลักในการออกแบบกราฟิก และสามารถผลิตวัสดุกราฟิกเพื่อใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนได้
5. อธิบายวิธีการ ขั้นตอน และสามารถแสดงเกี่ยวกับสื่อการสอนประเภทกิจกรรมได้
6. ใช้จัดเก็บ และการบำรุงรักษาโสตทัศนูปกรณ์พื้นฐานได้อย่างถูกวิธี
7. อธิบายถึงแนวทางการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแนวโน้มของเทคโนโลยีการศึกษาในอนาคตได้
แผนการสอน
สัปดาห์ที่ 1
1. สภาพการศึกษา ปัญหาและแนวทางการแก้ไข
2. แนวทางการจัดการศึกษาตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
3. บทบาทของเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา
4. ความหมายของเทคโนโลยีและนวัตกรรม
สัปดาห์ที่ 2
1. วิธีระบบ
2. การประยุกตืใช้วิธีระบบกับการดำเนินงานทางการศึกษา
สัปดาห์ที่ 3
1. การสื่อสารทางการศึกษา
2. การประยุกต์ใช้การสื่อสารกับการเรียนการสอน
สัปดาห์ที่ 4
1. จิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน
....1.1 จิตวิทยาการรับรู้
....1.2 จิตวิทยาการเรียนรู้
....1.3 จิตวิทยาพัฒนาการ
สัปดาห์ที่ 5
1. สื่อการเรียนการสอน
....1.1 สื่อวัสดุ
....1.2 สื่ออุปกรณ์
....1.3 สื่อกิจกรรม
สัปดาห์ที่ 6
1. การออกแบบการเรียนการสอน
สัปดาห์ที่ 7
1. คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา
....1.1 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
สัปดาห์ที่ 8
1. อินเตอร์เน็ตเพื่อการศึกษา
....1.1 การใช้เว็บบล็อกเพื่อการเรียนการสอน
สัปดาห์ที่ 9
....การใช้เว็บบล็อกเพื่อการเรียนการสอน
สัปดาห์ที่ 10
....e-Learning
สัปดาห์ที่ 11
....การเรียนรู้แบบผสมผสาน (blended learning)
สัปดาห์ที่ 12
....การศึกษาทางไกล
สัปดาห์ที่ 13
....การวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
สัปดาห์ที่ 14
....เทคโนโลยีการศึกษาในอนาคต
สัปดาห์ที่ 15
....อภิปรายสรุปบทเรียน
การวัดและประเมินผล
1. คะแนนระหว่างภาคเรียน
....1.1 รายงานเรื่องวิธีระบบ 5 คะแนน
....1.2 รายงานเรื่องการประยุกต์ใช้การสื่อสารฯ 10 คะแนน
....1.3 รายงานและการนำเสนอด้วย PowerPoint 10 คะแนน
....1.4 ผลงานการผลิตสื่อสีไม้ 15 คะแนน
....1.5 รายงานเรื่องการออกแบบการเรียนการสอน 5 คะแนน*
....1.6 ผลงานการสร้างเว็บบล็อก 20 คะแนน
....1.7 รายงานเรื่อง e-Learning 5 คะแนน**
....1.8 รายงานเรื่องการเรียนรู้แบบผสมผสาน 5 คะแนน**
....1.9 รายงานการวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา 5 คะแนน***
....1.10 รายงานการศึกษาทางไกล 5 คะแนน***
2. คะแนนปลายภาคเรียน
....สอบปลายภาคเรียน 20 คะแนน
เกณฑ์การประเมินผล
.....ระดับคะแนน 80-100 = A
.....ระดับคะแนน 75-76 = B+
.....ระดับคะแนน 70-74 = B
.....ระดับคะแนน 65-69 = C+
.....ระดับคะแนน 60-64 = C
.....ระดับคะแนน 55-59 = D+
.....ระดับคะแนน 50-54 = D
.....ระดับคะแนน 0-49 = E
Scrollbars By FreeGlitters.Com
Scrollbars By FreeGlitters.Com